บทสวดธรรมจักร | ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

บทสวดธรรมจักร (ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร) บทสวดมนต์เสริมสิริมงคลแก่ตนเองและเพื่อดับความร้อนจากใจ กิเลสตัณหา เพื่อเดินทางสายกลางแห่งธรรม
สาระสำคัญของธัมมจักกัปปวัตตนสูตรนี้ คือ การประกาศทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติที่ไม่เอียงไปทางกามสุขัลลิกานุโยค อันเป็นการประกอบตนแสวงหาความสุขจากกามคุณทั้ง ๕ และไม่เอียงไปทางอัตตกิลมถานุโยคอันเป็นการทรมานตนโดยหาประโยชน์มิได้
ซึ่งข้อปฏิบัติทางสายกลางคือ มัชฌิมาปฏิปทานี้เป็นข้อปฏิบัติอันกระทำเครื่องเห็น (ดวงตา) และเครื่องรู้ (ญาณ) ให้เป็นปกติ เป็นไปเพื่อความสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้พร้อม หรือ รู้ดี เพื่อการดับตัณหา เพื่อหลุดพ้นไปจากข้าศึกคือ กิเลส เป็นทางของพระอริยเจ้าผู้ละจากสภาวะฆราวาสออกบรรพชาในพระพุทธศาสนาแล้วพึงปฏิบัติตามหนทางสายกลางนี้เท่านั้น
มัชฌิมาปฏิปทานี้ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ
- สัมมาทิฐิ
- สัมมาสังกัปปะ
- สัมมาวาจา
- สัมมากัมมันตะ
- สัมมาอาชีวะ
- สัมมาวายามะ
- สัมมาสติ
- สัมมาสมาธิ
มัชฌิมาปฏิปทานี้เป็นแนวปฏิบัติอันเป็นปัจจัยให้เจ้าชายสิทธัตถะบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณตรัสรู้เป็น พระสัพพัญญูพุทธเจ้า และทำให้ประจักษ์แจ้งในอริยสัจ ๔ อันประกอบด้วย
- ทุกขอริยสัจ คือ ทุกข์อย่างแท้จริง
- ทุกขสมุทัยอริยสัจ คือ เหตุให้เกิดทุกข์อย่างแท้จริง
- ทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ความดับทุกข์อย่างแท้จริง
- ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์อย่างแท้จริง (อริยมรรค)
บทสวดธรรมจักร
(๑.นิทานพจน์)
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ตัตระโข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ.
(๒. ทางสุดโต่ง ๒ สาย)
เทเวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา, โยจายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต, โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค, ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต.
(๓. เรื่องของทางสายกลาง)
เอเตเต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ, มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อภิสัมพุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
กะตะมา จะ สาภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค, เสยยะถีทัง สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ.
อะยัง โข สาภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
(๔. การตรัสถึงทุกขสัจจะ)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง, ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ สัมปะโยโคทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง,สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา.
(๕. การตรัสถึงสมุทัยสัจจะ)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง, ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะ สะหะคะตา ตัตระตัตราภินันทินี, เสยยะถีทัง กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา.
(๖. การตรัสถึงนิโรธสัจจะ)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง, โย ตัสเสเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย.
(๗. การตรัสถึงมรรคสัจจะ)
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง.
๑๑.อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค, เสยยะถีทัง สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป, สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ.
(๘. การตรัสถึงสัจญาณในทุกขอริยสัจ)
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๙. การตรัสถึงกิจญาณในทุกขอริยสัจ )
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๐. การตรัสถึงกตญาณในทุกขอริยสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เมภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๑. การตรัสถึงสัจญาณในสมุทัยอริยสัจ)
อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติเม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๒. การตรัสถึงกิจญาณในสมุทัยอริยสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุงอุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลเก อุทะปาทิ.
(๑๓. การตรัสถึงกตญาณในสมุทัยอริยสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติเม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อะทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๔. การตรัสถึงสัจญาณในนิโรธอริยสัจ)
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๕. การตรัสถึงกิจญาณในนิโรธอริยสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกา ตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๖. การตรัสถึงกตญาณในนิโรธอริยสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๗. การตรัสถึงสัจจญาณในมรรคสัจ)
อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อะทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๘. การตรัสถึงกิจญาณในมรรคสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๑๙. การตรัสถึงกตญาณในมรรคสัจ)
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปิทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติเม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
(๒๐. การยังไมรับรองตอนก่อนที่ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า)
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ.
๒๕.เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก, สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง.
(๒๑. การรับรองตอนที่ตรัสรู้แล้ว)
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ.
๒๗.อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะหรัหมะเก, สัสสะมาณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง.
(๒๒. จัดเป็นการรู้เห็นด้วยปัจจเวกขณญาณ)
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ, อะยะมันติมา ชาติ, นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ.
(๒๓. พระปัญจวัคคีย์ พากันชื่นชมยินดีรสพระธรรม)
อิทะมะโวจะ ภะคะวา, อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง
(๒๔. พระอัญญาโกณฑัญญะได้เป็นพระโสดาบัน)
อิมัสมิญจะ ปะนะเวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน, อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ, ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ.
(๒๕. พวกเทพและพรหมพากันยินดี ป่าวประกาศกันต่อไป)
ปะวัตติเต จะ ภะคะวาตา ธัมมะจักเก, ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะเทเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะวา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ.
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ยามาเทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ตุสิตาเทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา, นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา, ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา, พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
เอตัมภะคะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พรัหมมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ.
อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ.
(๒๖. หมื่นโลกธาตุหวั่นไหว)
อะยัญจะ ทะสะ สะหัสสี โลกะธาตุสังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ, อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง.
( ๒๗. พระผู้มีพระภาคทรงเปร่งอนุทาน)
อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภโกณฑัญโญ, อัญญาสิ วะตะโภ โกณฑัญโญติ.
อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ, อัญญาโกณฑัญโญเตววะ นามัง, อะโหสีติ.
บทสวดมนต์เพิ่มเติม
- พาหุงมหากา พุทธชัยมงคลคาถา คาถาแห่งชัยชนะ
- คาถาชินบัญชร แปล (สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี)
- คาถาเงินล้าน 9 จบ หลวงพ่อฤาษี ลิงดำ ศักสิทธิ์ ใช้สวดเรียกทรัพย์
อ้างอิง : www.vstarproject.com